สำนักข่าวหุ้นอินไซด์ (8 พฤษภาคม )-------1.ตราสารทุน
การอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน
หน่วย: บริษัท
ประเภทการเสนอขาย
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (IPO) – หุ้น
|
10
|
34
|
7
|
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (IPO) – วอร์แรนต์
|
-
|
-
|
-
|
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนทั่วไป (PO) – หุ้น
|
-
|
-
|
-
|
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนทั่วไป (PO) – วอร์แรนต์
|
-
|
-
|
-
|
การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อบุคคลในวงจำกัด (PP) - หุ้น
|
-
|
-
|
-
|
รวม
|
10
|
34
|
7
|
หมายเหตุ : จำนวนบริษัทที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะมีการเสนอขายหลักทรัพย์ในช่วงเวลาดังกล่าวหรือไม่ (อาจจะมีบางบริษัทยังไม่ขาย)
มูลค่าการเสนอขายตราสารทุน จำแนกตามลักษณะการเสนอขาย
หน่วย: ล้านบาท
ลักษณะการเสนอขาย
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
เสนอขายในประเทศ
|
18,364
|
156,599
|
11,954
|
- ขายประชาชนครั้งแรก (IPO)
|
10,449
|
28,745
|
790
|
- ขายครั้งต่อไป*
|
7,915
|
127,854
|
11,164
|
เสนอขายต่างประเทศ
|
-
|
-
|
-
|
รวม
|
18,364
|
156,599
|
11,954
|
หมายเหตุ : มูลค่าการเสนอขายหลักทรัพย์ที่มีการเสนอขายในช่วงเวลาดังกล่าว (ไม่รวมกรณีการแลกหุ้น)
*ที่มาจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ไม่รวม Stock Dividend)
- ตราสารหนี้
มูลค่าการเสนอขายตราสารหนี้
หน่วย: ล้านบาท
ประเภท
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
เสนอขายในประเทศ*
|
439,925
|
1,867,746
|
394,106
|
- ตราสารหนี้ระยะสั้น
|
220,949
|
867,957
|
172,477
|
· Investment Grade
|
219,352
|
860,925
|
170,499
|
· High Yield Bond
|
1,597
|
7,032
|
1,979
|
- ตราสารหนี้ระยะยาว
|
218,975
|
999,789
|
221,629
|
· Investment Grade
|
205,112
|
941,344
|
206,090
|
· High Yield Bond
|
13,863
|
58,445
|
15,539
|
เสนอขายต่างประเทศ
|
1,063
|
61,584
|
37,377
|
รวม
|
440,987
|
1,929,330
|
431,483
|
หมายเหตุ: * ผู้ออกและเสนอขายทั้งที่เป็นไทยและต่างประเทศ
Investment Grade หมายถึง หุ้นกู้ที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ AAA ลงมาถึง BBB-
High Yield Bond หมายถึง หุ้นกู้ที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ BB+ ลงมา และหุ้นกู้ที่ไม่จัดอันดับความน่าเชื่อถือ
มูลค่าการเสนอขายตราสารหนี้กลุ่มยั่งยืน
หน่วย: ล้านบาท
ประเภทหลักทรัพย์
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
ตราสารหนี้เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Green Bond)
|
-
|
7,800
|
2,000
|
ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (Social Bond)**
|
1,000
|
13,390
|
-
|
ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (Sustainability Bond)**
|
30,000
|
114,000
|
-
|
ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-Linked Bond)
|
-
|
45,360
|
29,000
|
รวม
|
31,000
|
180,550
|
31,000
|
หมายเหตุ : * สำหรับรุ่นที่ออกเป็นสกุลเงินต่างประเทศได้ปรับมูลค่าเทียบเท่าเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ในกรุงเทพมหานครของธนาคารแห่งประเทศไทย (อัตรากลาง) ณ วันออกตราสาร (issue date)
** รวมพันธบัตรที่ออกโดยกระทรวงการคลัง และธนาคารออมสิน ซึ่งไม่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.
ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (Sustainability Bond) หมายถึง ตราสารหนี้ที่ผู้ออกระดมทุนเพื่อเอาเงินไปใช้ในโครงการหรือกิจกรรมด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ/หรือการพัฒนาสังคม
ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-Linked Bond) หมายถึง ตราสารหนี้ที่มีข้อตกลงและเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ย และ/หรือภาระผูกพันของผู้ออกในการดำเนินการด้านความยั่งยืน โดยอ้างอิงกับความสำเร็จหรือผลการดำเนินงานตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน
- การระดมทุนด้วยวิธีคราวด์ฟันดิง
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
หุ้นคราวด์ฟันดิง
|
จำนวนบริษัท
|
-
|
-
|
-
|
มูลค่า (ล้านบาท)
|
-
|
-
|
-
|
หุ้นกู้คราวด์ฟันดิง
|
จำนวนบริษัท
|
144
|
191
|
60
|
มูลค่า (ล้านบาท)
|
1,313
|
4,364
|
467
|
ผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง (Funding Portal) จำนวน 5 บริษัท ได้แก่ (1) บริษัท เอฟเอส สยาม จำกัด
(2) บริษัท สยาม วาลิดัส แคปปิตอล จำกัด (3) บริษัท อินเวสทรี (ไทยแลนด์) จำกัด (4) บริษัท รวมใจไทยสู้ จำกัด (5) บริษัท เพียร์ พาวเวอร์ แพลตฟอร์ม จำกัด
- 4. ใบสำคัญ/ตราสารแสดงสิทธิ
การออกและเสนอขาย
หน่วย: รุ่น
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
ใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ (DW)
|
1,049
|
3,711
|
859
|
ตราสารแสดงสิทธิในหลักทรัพย์ต่างประเทศ (DR)
|
5
|
28
|
15
|
ตราสารแสดงสิทธิในหลักทรัพย์ต่างประเทศที่ไม่ต้องซื้อขายเป็นจำนวนเต็มของหน่วย (Fractional Depositary Receipt : DRx)
|
5
|
14
|
1
|
- ธุรกิจจัดการลงทุน
ประเภทกองทุน
|
Q1-2567
|
2567
|
ข้อมูลล่าสุด*
|
กองทุนรวม
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
|
|
ณ สิ้นเดือน มี.ค. 68
|
2,126
|
2,255
|
2,258
5,190,575
|
4,574,828
|
5,209,917
|
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
356
1,429,782
|
352
1,513,173
|
ณ สิ้นเดือน มี.ค. 68
349
1,480,653
|
กองทุนส่วนบุคคล
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
92,709
2,512,481
|
103,563
2,383,400
|
ณ สิ้นเดือน มี.ค. 68
105,472
2,486,286
|
กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน*
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
8
357,397
|
8
342,335
|
ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 67
8
342,335
|
ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REIT)*
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
27
242,172
|
38
326,643
|
ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 67
38
326,643
|
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (กอง 1-4)**
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
-
-
|
31
68,312
|
ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 67
31
68,312
|
หมายเหตุ : * ข้อมูลรายไตรมาส โดยมีระยะเวลาการรายงานข้อมูลภายใน 45 วันนับตั้งแต่วันสิ้นงวดข้อมูล
** ข้อมูลรายครึ่งปี โดยมีระยะเวลาการรายงานข้อมูลภายใน 45 วันนับตั้งแต่วันสิ้นงวดข้อมูล
กองทุนรวมกลุ่มความยั่งยืน
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน (Thai ESG)
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
|
37
29,760
|
|
22
6,657
|
37
33,199
|
กองทุนรวมเพื่อความยั่งยืน (SRI Fund)
- จำนวนกองทุน
- NAV (ล้านบาท)
|
31
27,913
|
54
49,063
|
54
50,932
|
หมายเหตุ : ข้อมูล ณ 30 ธันวาคม 2567
กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน (Thai ESG) คือ กองทุนที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินที่มีความโดดเด่นด้านความยั่งยืนหรือสิ่งแวดล้อมที่ผู้ออกทรัพย์สินนั้นเป็นภาครัฐหรือกิจการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย โดยผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการลงทุนในกองทุนรวมดังกล่าว
กองทุนรวมเพื่อความยั่งยืน (SRI Fund) คือ กองทุนรวมที่มีการเปิดเผยข้อมูลในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวนว่ามีการจัดการกองทุนรวมโดยมุ่งความยั่งยืน (Sustainability) ตามหลักสากล และมีการใช้ตราสัญลักษณ์เกี่ยวกับการลงทุนเพื่อความยั่งยืน ในหนังสือชี้ชวนหรือเอกสารอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวม
- 6. ภาพรวม employees’ choices ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
|
ธ.ค. 2566
|
มิ.ย. 2567
|
ธ.ค. 2567
|
จำนวน master fund (กองทุน)
|
196
|
198
|
199
|
จำนวนนายจ้างที่มี employees’ choices (ราย)
|
12,803
|
13,831
|
14,553
|
หมายเหตุ : * ข้อมูลรายครึ่งปี
- การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์
การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ
การทำคำเสนอซื้อ
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
เพื่อวัตถุประสงค์ในการครอบงำกิจการ
มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท)
มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท) จำนวนบริษัทที่ถูกเสนอซื้อ
|
7,013
3,434
1
|
49,293
15,964
12
|
235,212
41
3
|
เพื่อออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ
มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท)
มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท) จำนวนบริษัทที่ถูกเสนอซื้อ
|
-
-
-
|
45,484
44,615
5
|
-
-
-
|
รวม
มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท)
มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท) จำนวนบริษัทที่ถูกเสนอซื้อ
|
7,013
3,434
1
|
94,778
60,579
17
|
235,212
41
3
|
การผ่อนผันเกี่ยวกับการทำคำเสนอซื้อ
หน่วย: กรณี
ประเภทการผ่อนผัน
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
การผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อ
|
6
|
9
|
2
|
(1) ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอำนาจบริหาร
(2) เป็นการฟื้นฟูกิจการ
(3) ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น (white wash)
(4) ผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อหุ้นบางส่วน
(5) ไม่มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อการครอบงำกิจการ
(6) จำเป็นและสมควร
|
3
-
-
-
-
3
|
5
-
1
-
-
3
|
-
-
2
-
-
-
-
|
การผ่อนผันขั้นตอนหรือวิธีการในการทำคำเสนอซื้อ
|
-
|
-
|
-
|
- ธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
ผู้ได้รับใบอนุญาต/ได้รับความเห็นชอบ
|
จำนวน (ราย)*
|
ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Exchange)
|
9
|
นายหน้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Broker)
|
12
|
ผู้ค้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Dealer)
|
4
|
ผู้จัดการเงินทุนสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Fund Manager)
|
2
|
ที่ปรึกษาสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Advisory Service)
|
2
|
ผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Custodial Wallet Provider)
|
2
|
ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO Portal)
|
9
|
หมายเหตุ : * รวมผู้ประกอบธุรกิจและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ที่ได้รับใบอนุญาตแล้วแต่ยังไม่เริ่มประกอบธุรกิจ และบางรายได้รับใบอนุญาตมากกว่า 1 ประเภท ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ ก.ล.ต. www.sec.or.th หัวข้อ “สินทรัพย์ดิจิทัล” หรือ คลิก www.sec.or.th/DigitalAsset
การเสนอขายโทเคนดิจิทัล
การเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO)
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
บริษัท
|
มูลค่า (ล้านบาท)
|
บริษัท
|
มูลค่า (ล้านบาท)
|
บริษัท
|
มูลค่า
(ล้านบาท)
|
โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน (Investment Token)
|
-
|
-
|
2
|
450
|
1
|
400
|
โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์แบบไม่พร้อมใช้ (Utility Token ไม่พร้อมใช้)
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์แบบพร้อมใช้ที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการอุปโภคบริโภค หรือแสดงสิทธิต่างๆ และ issuer ต้องการนำไปจดทะเบียนซื้อขายบนศูนย์ซื้อขายฯ (Utility Token พร้อมใช้กลุ่ม 2)
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
รวม
|
-
|
-
|
2
|
450
|
1
|
400
|
หมายเหตุ : จำนวนบริษัทและมูลค่าของโครงการโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต ไม่ว่าจะมีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลในช่วงเวลาดังกล่าวหรือไม่
- การดำเนินการของ “ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนและรับแจ้งเบาะแส”
การรับเรื่องร้องเรียน
ประเภทเรื่องที่ร้องเรียน
|
จำนวนเรื่องที่ได้รับการร้องเรียน ในไตรมาส 1 ปี 2568 (เรื่อง)
|
หุ้นกู้
|
28
|
การทำความรู้จักลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (KYC)
|
15
|
การดำเนินธุรกิจของบริษัทจดทะเบียน
|
14
|
สินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้าสูญหาย
|
12
|
การประกอบธุรกิจเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ โดยไม่ได้รับอนุญาต
|
10
|
อื่น ๆ
|
171
|
รวม
|
250
|
หมายเหตุ : “ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนและรับแจ้งเบาะแส” ยกระดับจาก “ศูนย์บริการประชาชน ก.ล.ต.” ตามโครงสร้างองค์กรใหม่ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2566
การดำเนินการของ “สายด่วนแจ้งหลอกลงทุน”
การดำเนินการ
|
จำนวนบัญชีที่แจ้งปิดกั้นเนื้อหาหรือช่องทางการหลอกลงทุน
|
6 พ.ย. – 31 ธ.ค. 2566*
|
2567
|
1 ม.ค. – 31 มี.ค. 2568
|
แจ้งปิดกั้นโดยตรงกับผู้ให้บริการแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย
|
Facebook
|
368
|
1,349
|
759
|
LINE
|
17
|
156
|
38
|
TikTok
|
-
|
1,817
|
533
|
Instagram
|
1
|
-
|
3
|
แจ้งปิดกั้นผ่านหน่วยงานภาครัฐ**
|
-
|
66
|
46
|
รวม
|
386
|
3,388
|
1,379
|
หมายเหตุ : * ก.ล.ต. เปิดช่องทาง “สายด่วนแจ้งหลอกลงทุน” เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2566
เมื่อ ก.ล.ต. ได้รับเบาะแส จะตรวจสอบและแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อปิดกั้นเนื้อหาหรือช่องทางการหลอกลงทุนโดยเร็ว ในปี 2567 ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียได้ปิดกั้นบัญชีที่ได้รับแจ้งจาก ก.ล.ต. ไปแล้ว 100% ภายในเวลา 7 นาที – 48 ชั่วโมง
** การแจ้งปิดกั้นผ่านหน่วยงานภาครัฐ เช่น กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (DE) สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2567
Investor Alert : การรายงานข้อมูลรายชื่อบุคคลหรือนิติบุคคลที่มิใช่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต. (Investor Alert) เพื่อเตือนประชาชนให้ระมัดระวังการลงทุน
ประเภทรายชื่อบุคคลหรือนิติบุคคล ที่มิใช่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.
|
จำนวน (ราย)
|
2567
|
1 ม.ค. – 31 มี.ค. 2568
|
ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
|
3,455
|
1,325
|
ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
|
55
|
9
|
ยังไม่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน
|
9
|
1
|
ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า และยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
|
11
|
4
|
รวมทั้งหมด
|
3,530
|
1,339
|
หมายเหตุ : สามารถตรวจสอบข้อมูล Investor Alert ได้ที่เว็บไซต์ ก.ล.ต. https://market.sec.or.th/public/idisc/th/InvestorAlert
- การบังคับใช้กฎหมาย
ประเภทผู้ได้รับความเห็นชอบ
หน่วย: คน
|
เปิดเผยพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
|
สั่งพัก
|
เพิกถอนความเห็นชอบ**
|
Q1-67
|
2567
|
Q1-68
|
Q1-67
|
2567
|
Q1-68
|
Q1-67
|
2567
|
Q1-68
|
ผู้แนะนำการลงทุน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
1
|
-
|
1
|
9
|
-
|
ผู้วางแผนการลงทุน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
ผู้จัดการกองทุน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
กรรมการในคณะกรรมการลงทุนของกองทุน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
ผู้บริหาร*
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
ผู้สอบบัญชี
|
-
|
2
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
ที่ปรึกษาทางการเงิน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานที่ปรึกษาทางการเงิน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
บริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สิน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
ผู้ประเมินหลัก
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
รวม
|
0
|
2
|
0
|
0
|
1
|
0
|
0
|
9
|
0
|
หมายเหตุ : * ผู้บริหาร หมายความรวมถึง ผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์ ผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน บุคคลผู้มีอำนาจในการจัดการ และผู้จัดการสาขา
** รวมการกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาคำขอความเห็นชอบ
|
เปรียบเทียบปรับ (เฉพาะกรณีที่มีการชำระค่าปรับ)
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
จำนวนข้อหา
|
31
|
147
|
37
|
จำนวนราย
|
28
|
120
|
24
|
จำนวนเงินค่าปรับ (บาท)
|
10,686,225
|
45,414,795
|
11,760,650
|
หมายเหตุ : ผู้ถูกดำเนินการ 1 ราย อาจมีการกระทำผิดหลายข้อหาได้
|
กล่าวโทษผู้กระทำผิด ต่อพนักงานสอบสวน (บก.ปอศ. และดีเอสไอ)
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
จำนวนคดี
|
11
|
34
|
8
|
จำนวนผู้ถูกกล่าวโทษ
|
45
|
134
|
35
|
หมายเหตุ : บางเรื่องที่ ก.ล.ต. กล่าวโทษจะนับมากว่า 1 คดี เนื่องจากพฤติกรรมในเรื่องนั้นเป็นการกระทำความผิดที่ต่างประเภทกัน ซึ่งสามารถแยกดำเนินคดีได้
|
ตกลงทำบันทึกการยินยอมปฏิบัติตามมาตรการลงโทษ ทางแพ่งที่ ค.ม.พ. กำหนด
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
จำนวนคดี
|
3
|
10
|
4
|
จำนวนผู้กระทำผิด
|
13
|
47
|
14
|
ค่าปรับทางแพ่ง* (บาท)
|
26,071,941
|
492,019,845
|
14,136,875
|
ชดใช้เงินเท่าผลประโยชน์ที่ได้รับ* (บาท)
|
15,213,327
|
207,408,150
|
10,201,643
|
ชดใช้เงินค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ (บาท)
|
740,630
|
4,588,862
|
761,374
|
*เงินค่าปรับทางแพ่งและเงินค่าชดใช้คืนผลประโยชน์ที่ได้รับจากการกระทำผิด เป็นรายได้แผ่นดินที่นำส่งกระทรวงการคลังแล้ว
|
ไม่ยินยอมปฏิบัติตามมาตรการลงโทษทางแพ่งที่ ค.ม.พ. กำหนด
ก.ล.ต. จึงขอให้พนักงานอัยการดำเนินการฟ้องคดีผู้กระทำความผิดต่อศาลแพ่งในอัตราสูงสุดที่กฎหมายบัญญัติ
|
Q1-2567
|
2567
|
Q1-2568
|
ส่งฟ้องศาลแพ่ง (ราย)
|
-
|
13
|
12
|
จำนวนเงินที่ขอให้ศาลสั่ง* (บาท)
|
-
|
70,248,036
|
48,468,881
|
หมายเหตุ : * จำนวนเงินที่ขอให้ศาลสั่งตามมาตรการลงโทษทางแพ่ง ประกอบด้วย ค่าปรับ / เรียกคืนผลประโยชน์ / ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ
____________________