Today’s NEWS FEED

News Feed

PTTGC โครงการโรงกลั่นชีวภาพ (Biorefinery) ครบวงจรผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืน เคมีภัณฑ์ชีวภาพ และพลาสติกชีวภาพตอกย้ำศักยภาพธุรกิจมูลค่าสูงและคาร์บอนต่ำ

142

สำนักข่าวหุ้นอินไซด์ (24 กรกฎาคม 2568 )-----บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรือ GC ผู้นำในธุรกิจเคมีภัณฑ์ระดับลากล เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพชีวิต ผู้บุกเบิกการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืน (Sustainable Avion Fuel: SAF)และประสบความสำเร็จในการผลิต SAF เชิงพาณิชย์เป็นรายแรกของประเทศไทย ด้วยวิธีการผลิตร่วมแบบ C๐-processing เปลี่ยนโครงสร้างน้ำมันปรุงอาหารใช้แล้วเป็นพลังงานสะอาดและผลิตภัณฑ์ชีวภาพอย่างยั่งยืนพร้อมได้รับการรับรองมาตรฐาน ISCC CORSIA (International Sustainabilty and Carbon Certification -Carbon Offsetting and Reduction Scheme for Inlemational Adation) ซึ่งเป็นมาตรฐานความยั่งยืนระดับสากลที่ยอมรับในอุตสาหกรรมการบิน และสามารถลดการปล่อยก๊าซดาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 80%" เมื่อเทียบกับการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานทั่วไป และได้รับรองมาตรฐาน ISCC Plus (International Sustainability andCarbon Certication Plus) ที่มุ่งเน้นการใช้วัตดิบชีวภาพและวัสดุหมุนเวียนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน โดย GC ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพมูลค่าสูงอีกกว่า 10 ชนิด ละท้อนการสร้าง "ความแตกต่างอย่างยั่งยืน" ผ่านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการสร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืนสอดคล้องกับเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ภายในปี พ.ศ. 2593 (ศ. 2050) *อ้างอิงตามมาตรฐานการรับรอง ISCC CORSIA



ที่มาและความสำคัญ
ในปัจจุบัน อุตลาหกรรมการบินทั่วโลกกำลังเผชิญแรงกดดันในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หลายประเทศจึงออกกฎหมายและมาตรการสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน ทำให้แนวโน้มการตลาดของ SAF เติบโตอย่างรวดเร็ว GC ได้สร้างโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจผ่าน 3 จุดแข็งหลัก ได้แก่ (1) โครงสร้างพื้นฐานที่ทันสมัยรองรับการผลิตเชิงพาณิชย์ (2) บุคลากรผู้เชี่ยวชาญด้านโรงกลั่นน้ำมัน และ (3) การบริหารจัดการวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการนำน้ำมันพืชใช้แล้วภายในประเทศมาผลิตเป็น SAF เชิงพาณิชย์ โดยมีกรอบกฎหมายที่สนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน ประกอบด้วย

1. ICAO CORSIA (Carbon Offsetting and Reduction Scheme for International Aviation): เป็นโครงการขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) ที่มุ่งลดการปล่อยคาร์บอนจากอุตสาหกรรมการบิน โดยมีข้อกำหนดให้สายการบินใช้ SAF เพื่อช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

2. ASTM D7566: มาตรฐานลากลที่กำหนดคุณสมบัติของ SAF ซึ่งสามารถผลมกับเชื้อเพลิงอากาศยานแบบดั้งเดิมได้ถึง 50%

3. EU Renewable Energy Directive (RED II): กำหนดให้ SAF เป็นหนึ่งในพลังงานทดแทนที่สามารถนำมาใช้เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอุตสาหกรรมการบินของสหภาพยุโรป

4. FAA and EASA Regulations: องค์การบริหารการบินแห่งชาติสหรัฐฯ (FAA) และองค์การความปลอดภัยด้านการบินแห่งสหภาพยุโรป (EASA) มีแนวทางในการส่งเสริมการใช้ SAF และกำกับดูแลมาตรฐานความปลอดภัยของเชื้อเพลิงดังกล่าว

จุดเด่นที่สำคัญของโรงกลั่นชีวภาพ (Blorefinery) ครบวงจร

1. นวัตกรรมการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูง: ผลานจุดแข็งทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ทันสมัยและความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาเทคโนโลยีของโรงกลั่นชีวภาพโดยใช้การแปรรูปน้ำมันพืชใช้แล้ว (Used CookingOแ: UCO) ร่วมกับน้ำมันดิบสู่การผลิต SAF เชิงพาณิชย์ได้โดยไม่ต้องสร้างโรงงานขึ้นมาใหม่ ทำให้สามารถประหยัดการลงทุนเมื่อเทียบกับการสร้างโรงงานใหม่ โดยในระยะแรกมีกำลังการผลิต 6 ล้านลิตรต่อปี และจะขยายเป็น 24 ล้านลิตรต่อปีในอนาคต ซึ่งจะช่วยลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 15,00000 ตันต่อปีในระยะแรก และ 60 000 ตันต่อปีในระยะที่สอง หรือสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ถึง 80% เมื่อเทียบกับน้ำมันเชื้อเพลิงทั่วไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการนี้ไม่เพียงช่วยลดต้นทุนการแปรรูปวัสดุชีวภาพ แต่ยังสร้างความมั่นใจว่าอุตลาหกรรมการบินไทยจะสามารถแข่งขันได้ในระดับโลก และมีส่วนร่วมสำคัญในการสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

2. พันธมิตรเชิงกลยุทธ์: ความร่วมมือระหว่าง GC กับพันธมิตรสำคัญอย่างบริษัท ปตท. น้ำมันและการการค้าปลีก จำกัด (มหาชน) หรือ OR การบินไทยหรือ TG และสายการบินบางกอก แอร์เวย์ ในการนำ SAF ไปใช้นับเป็นก้าวสำคัญของการพัฒนาเครือข่ายการจัดจำหน่ายที่ครอบคลุมทั่วภูมิภาค พร้อมสร้างมาตรฐานใหม่ให้กับอุตสาหกรรมการบินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีแผนการขยายการสร้างความร่วมมือกับพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเสริมความแข็งแกร่งและขยายฐานการตลาด รวมถึงการทำงานร่วมกับองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภาพและพลังงานทดแทน เพื่อผลักดันการพัฒนาและขยายตลาลผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน


3. ต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์ชีวภาพมูลค่าสูง: GC ต่อยอยอดความเชี่ยวชาญด้านการกลั่นและเคมีภัณฑ์ขั้นสูง โดยการพัฒนากระบวนการ Co-processing ที่สามารถใช้งานร่วมกับหน่วยกลั่นเดิมได้ นำน้ำมันพืชใช้แล้ว (UsedCooking OI: UCO) มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ (Bio-Chemicals) และพลาสติกชีวภาพ (Bio-Polymers) มูลค่าสูง เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของอุดสาหกรรมที่มุ่งเน้นการใช้วัสดุทางเลือกที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ GC ได้เริ่มผลิตเชิงพาณิชย์แล้ว จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ Bio-Propleneสำหรับผลิตบรรจุภัณฑ์ พลาสติกแข็ง ของเล่นเด็ก และชิ้นส่วนยานยนต์ Bio-BD (Bio-Butadie) ใช้ในยางรถยนต์และรองเท้าก็พา และ Bio-PTA (Bio-Punfed Terephthalic Acid) สำหรับผลิตเส้นโยโพลีเอสเตอร์และขวดพลาสติก PET โดยขณะนี้มีตลาดปลายทางในอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ อุตลาหกรรมยาง และอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ตามลำดับ

GC ยังต่อยอด Bio-Naphtha ซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเคมีภัณฑ์และพลาสติก Bio-PE (Bio-Polyetylene) สำหรับผลิตถุงพลาสติก ฟิล์ม และบรรจุภัณฑ์อาหาร และ Bio-MEG (Bio-MonoethyleneGycol) สำหรับผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์และขวดพลาสติก PET อีกด้วย อีกทั้งโรงกลั่นชีวภาพของ GC มีบทบาทสำคัญในการเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบทางการเกษตรและของเสียในประเทศ โดยลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณสมบัติเทียบเท่าวัสดุจากฟอสซิล แต่ปล่อยคาร์บอนฟุตพรินต์ต่ำกว่าอย่างมีนัยสำคัญช่วญช่วยลดปัญหาของเสีย เพิ่มรายได้ให้กับชุมชน และขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียนอย่างเป็นรูปธรรม ลอดคล้องกับเป้าหมายของGC ในการเป็นผู้นำธุรกิจคาร์บอนต่ำที่เติบโตอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ชีวภาพของ GC ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากลด้านความยั่งยืนอย่าง ISCC PLUS (Intemational Sustainability and CarbonCertication Plus) ซึ่งมุ่งเน้นการใช้วัตดิบชีวภาพและวัสดุหมุนเวียนในกระบวนการผลิตอย่างมีความรับผิดชอบ ช่วยให้แบรนด์ผู้ผลิตสินค้าปลายทางสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคที่ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมั่นใจ

4. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม: การลงทนในโครงการนี้ไม่เพียงช่วยเสริมความมั่นคงทางพลังงานของประเทศและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคการบิน แต่ยังพัฒนาและส่งเสริมความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่การคัดเลือกแหล่งวัตถุดิบทางชีวภาพที่ยั่งยืนไปจนถึงการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ พร้อมเปิดโอกาสทางธุรกิจใหม่ในอุตสาหกรรมคาร์บอนต่ำ สนับสนุนเกษตรกรและชุมชนท้องถิ่นผ่านการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตร

โครงการ SAF ของ GC ไม่เพียงเป็นก้าวสำคัญของประเทศไทย แต่ยังช่วยขับเคลื่อนอุตลาหกรรมการบินให้เข้าสู่เศรษฐกิจพลังงานสะอาด พร้อมเป็นส่วนหนึ่งของความเปลี่ยนแปลงระดับโลกในการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และสร้างอนาคตที่ยั่งยืนสำหรับทุกคน

ความร่วมมือกับพันธมิตร
30 กันยายน 2567 - GC ลงนามบันทึกข้อตกลงในความร่วมมือกับบริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน) หรือ OR เพื่อศึกษาโอกาสทางการตลาดและกลยุทธ์การขายน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืน (Sustainable Aviation Fue: SAF) เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งในอุตลาหกรรมปิโตรเคมีและธุรกิจน้ำมันเชื้อเพลิงพร้อมสนับสนุนอุตลาหกรรมการบินที่ยั่งยืนของประเทศไทย

19 พฤศจิกายน 2567 - GC บริษัท ปดท.น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน) หรือ OR และ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) หรือ TG ประกาศความร่วมมือครั้งสำคัญผ่านการลงนามบันทึกความเข้าใจเพื่อผลักดันการใช้ด้านเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืน (Sustainable Aviation Fuel) หรือ SAF ภายใต้พ้นธกิจร่วมกันลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ส่งเสริมอนาคตที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรมการบิน สอดดดล้องกับมาตรฐานระดับโลกที่กำหนดโดยองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (Intemational Civi Aviation Organization) ICAO ICAO เพื่อผลักดันประเทศไทยสู่การเป็นประเทศที่คาร์บอนต่ำ

15 มกราคม 2568 - GC ประกาศความสำเร็จในการเริ่มผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืน (SustainableAviation Fuet: SAF) เป็นรายแรกของประเทศ นันการยกระดับอุตลาหกรรมพลังงานและเคมีภัณฑ์ด้วยนวัตกรรมเคมีชีวภาพ ความสำเร็จครั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึงวิสัยทัศน์ของ GC ในการสร้าง "ความแตกต่างอย่างยั่งยืน" โดยมุ่งสู่การเป็นผู้นำระดับโลกด้านเคมีภัณฑ์ครบวงจรแห่งอนาคด ผ่านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการสร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืน ลอดคล้องกับเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero) ภายในปี พ.ศ. 2593 (ศ. 2050)

23 เมษายน 2568 - GC เดินหน้าขยายศักยภาพโรงกลั่นชีวภาพ (Biorefinery) ต่อยอดจากความสำเร็จในการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืน (Sustainable Aviaton Fuel: SAF) เป็นรายแรกของประเทศ สู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เคมีชีวภาพ (Bio-Chemicals) และพลาสติกชีวภาพ (Bio-Poyners) มูลค่าสูงที่ตอบโจทย์การใช้งานในหลากหลายอุตสาหกรรม รองรับความต้องการของตลาตโลกที่มุ่งสู่วัสดุทางเลือกเพื่อความยั่งยืน เสริมความแข็งแกร่งให้กับอุตสาหกรรมชีวภาพของไทย และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับสากล ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่แตกต่างอย่างยั่งยืน พร้อมขับเคลื่อนองค์กรตามกลยุทธ์ขยายธุรกิจมูลค่าสูงและคาร์บอนต่ำ (High Value & Low Carbon Business)

9 พฤษภาคม 2568 - บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ สายการบินบางกอกแอร์เวย์ส และบริษัทปตท. น้ำมันและการค้าปลึก จำกัด (มหาชน) หรือ OR ลงนามหนังสือแสดงเจตจำนง (Letter of Intent: LOl)ความร่วมมือในการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืน (Sustainable Aviation Fuels : SAF) ผลิต GCสำหรับใช้ปฏิบัติการบินในเที่ยวบินของสายการบินบางกอกแอร์เวย์ส ตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของทั้งสองบริษัท พร้อมผลักดันอุตสาหกรรมการบินของประเทศไทยก้าวสู่อนาคตการบินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

1 กรกฎาคม 2568 - บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ สายการบินบางกอกแอร์เวย์ส ประกาศนำเชื้อเพลิงอากาศยานแบบยั่งยืนหรือ SAF (Sustainable Aration Fuel) ผลิตโดย GC มาใช้ในเที่ยวบินเชิงพาณิชย์อย่างเป็นทางการ ขับเคลื่อนแคมเปญ Low Carbon Skies by Bangkok Airways มุ่งลดปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการดำเนินธุรกิจ ผลักดันอุตสาหกรรมการบินสีเขียวของไทย และวางรากฐานสำคัญสู่การพัฒนาการบินที่สมดุลกับสิ่งแวดล้อมในอนาคต เริ่มตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 เป็นต้นไป

อณุภา ศิริรวง

: รายงาน/เรียบเรียง โทร 02-276-5976 อีเมล์: reporter@hooninside.com ที่มา: สำนักข่าวหุ้นอินไซด์

บทความล่าสุด

NER ร่วมทำดี บริจาคโลหิต เฉลิมพระเกียรติ จัดหาโลหิตสำรอง...ช่วยเหลือชีวิตเพื่อนมนุษย์

NER ร่วมทำดี บริจาคโลหิต เฉลิมพระเกียรติ จัดหาโลหิตสำรอง...ช่วยเหลือชีวิตเพื่อนมนุษย์

HotNews: เปิดหุ้นเสี่ยง! ปมข้อพิพาท ไทย-กัมพูชา

เปิดหุ้นเสี่ยง!ปมข้อพิพาท ไทย-กัมพูชา กลุ่มไหน เสี่ยงมาก เสี่ยงน้อย ในทางกลับกัน ธีมไหนได้ได้อานิสงส์ ไปดู...

รอดูสถานการณ์ By : แม่มดน้อย

แม่มดน้อย ขี่ไม้กวาดวิเศษ ยามนี้ ต้องจับตา รอดู สถานการณ์ ชายแดน ไทย-กัมพูชา คณะมนตรีความมั่นคง UN นัดประชุมฉุกเฉิน....

มัลติมีเดีย

DEXON แผนครึ่งปีหลัง เดินหน้าขยายฐานลูกค้า ยุโรป-อเมริกา

DEXON แผนครึ่งปีหลัง เดินหน้าขยายฐานลูกค้า ยุโรป-อเมริกา

สามารถติดตามหน้าเพจของ หุ้นอินไซด์ เพื่อรับข่าวเด่นและประเด็นที่คุณไม่ควรพลาดได้ตามขั้นตอนนี้