Today’s NEWS FEED

News Feed

ข้อมูลสถิติสำคัญปี 2567 (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2567)

269

สำนักข่าวหุ้นอินไซด์ (3 กุมภาพันธ์ 2568)-------1.ตราสารทุน

 

การอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน   

หน่วย: บริษัท

ประเภทการเสนอขาย

2566

2567

 
 

การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (IPO) – หุ้น

52

34

 

การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (IPO) – วอร์แรนต์

-

-

 

การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนทั่วไป (PO) – หุ้น

-

-

 

การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนทั่วไป (PO) – วอร์แรนต์

-

-

 

การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อบุคคลในวงจำกัด (PP) - หุ้น

11

-

 

รวม

63

34

 

หมายเหตุ : จำนวนบริษัทที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะมีการเสนอขายหลักทรัพย์ในช่วงเวลาดังกล่าวหรือไม่ (อาจจะมีบางบริษัทยังไม่ขาย)

 

มูลค่าการเสนอขายตราสารทุน จำแนกตามลักษณะการเสนอขาย

หน่วย: ล้านบาท            

ลักษณะการเสนอขาย

2566

2567

 
 

เสนอขายในประเทศ

120,885

156,599

 

   - ขายประชาชนครั้งแรก (IPO) 

45,151

28,745

 

   - ขายครั้งต่อไป*

75,734

127,854

 

เสนอขายต่างประเทศ

-

-

 

รวม

120,885

156,599

 

หมายเหตุ : มูลค่าการเสนอขายหลักทรัพย์ที่มีการเสนอขายในช่วงเวลาดังกล่าว (ไม่รวมกรณีการแลกหุ้น)

*ที่มาจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ไม่รวม Stock Dividend)

 


 

  1. ตราสารหนี้

 

มูลค่าการเสนอขายตราสารหนี้

หน่วย: ล้านบาท

ประเภท

2566

2567

 
 

เสนอขายในประเทศ*

2,332,333

1,867,746

 

   - ตราสารหนี้ระยะสั้น

1,229,298

867,957

 

·       Investment Grade

1,139,554

860,925

 

·       High Yield Bond

89,744

7,032

 

   - ตราสารหนี้ระยะยาว

1,103,035

999,789

 

·       Investment Grade

1,103,035

941,344

 

·       High Yield Bond

85,195

58,445

 

เสนอขายต่างประเทศ

88,854

61,584

 

รวม

2,421,187

1,929,330

 

หมายเหตุ: * ผู้ออกและเสนอขายทั้งที่เป็นไทยและต่างประเทศ

Investment Grade หมายถึง หุ้นกู้ที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ AAA ลงมาถึง BBB-

High Yield Bond หมายถึง หุ้นกู้ที่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตั้งแต่ BB+ ลงมา และหุ้นกู้ที่ไม่จัดอันดับความน่าเชื่อถือ

 

มูลค่าการเสนอขายตราสารหนี้กลุ่มยั่งยืน

หน่วย: ล้านบาท

ประเภทหลักทรัพย์

2566

2567

ตราสารหนี้เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (Green Bond)

        47,293

   7,800

ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (Social Bond)**

          4,000

  13,390

ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (Sustainability Bond)**

      141,500

114,000

ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-Linked Bond)

          1,000

  45,360

รวม

      193,793

180,550

หมายเหตุ : * สำหรับรุ่นที่ออกเป็นสกุลเงินต่างประเทศได้ปรับมูลค่าเทียบเท่าเงินบาท โดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ในกรุงเทพมหานครของธนาคารแห่งประเทศไทย (อัตรากลาง) ณ วันออกตราสาร (issue date)

** รวมพันธบัตรที่ออกโดยกระทรวงการคลัง และธนาคารออมสิน ซึ่งไม่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.

ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (Sustainability Bond) หมายถึง ตราสารหนี้ที่ผู้ออกระดมทุนเพื่อเอาเงินไปใช้ในโครงการหรือกิจกรรมด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและ/หรือการพัฒนาสังคม

ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-Linked Bond) หมายถึง ตราสารหนี้ที่มีข้อตกลงและเงื่อนไขในการปรับอัตราดอกเบี้ย และ/หรือภาระผูกพันของผู้ออกในการดำเนินการด้านความยั่งยืน โดยอ้างอิงกับความสำเร็จหรือผลการดำเนินงานตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน

 

  1. การระดมทุนด้วยวิธีคราวด์ฟันดิง

 

 

2566

2567

หุ้นคราวด์ฟันดิง

จำนวนบริษัท

2

-

มูลค่า (ล้านบาท)

50

-

หุ้นกู้คราวด์ฟันดิง

จำนวนบริษัท

276

191

มูลค่า (ล้านบาท)

6,086

4,364

    

ผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง (Funding Portal) จำนวน 4 บริษัท ได้แก่ (1) บริษัท เอฟเอส สยาม จำกัด
(2) บริษัท สยาม วาลิดัส แคปปิตอล จำกัด (3) บริษัท อินเวสทรี (ไทยแลนด์) จำกัด (4) บริษัท รวมใจไทยสู้ จำกัด โดยไม่ได้นับรวม บริษัท เพียร์ พาวเวอร์ แพลตฟอร์ม จำกัด ซึ่งหมดอายุความเห็นชอบเมื่อ 28 พ.ย. 2567 (ณ 17 ม.ค. 68 บริษัท เพียร์ พาวเวอร์ แพลตฟอร์ม จำกัด ได้รับความเห็นชอบให้บริการเฉพาะเสนอขายหุ้นคราวด์ฟันดิง)

 

  1. 4. ใบสำคัญ/ตราสารแสดงสิทธิ

 

การออกและเสนอขาย

หน่วย: รุ่น

2566

2567

 
 

ใบสำคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ (DW)

4,480

3,711

 

ตราสารแสดงสิทธิในหลักทรัพย์ต่างประเทศ (DR)

8

28

 

ตราสารแสดงสิทธิในหลักทรัพย์ต่างประเทศที่ไม่ต้องซื้อขายเป็นจำนวนเต็มของหน่วย (Fractional Depositary Receipt : DRx)

3

14

 

 


 

  1. ธุรกิจจัดการลงทุน

 

ประเภทกองทุน

มูลค่า ณ สิ้นงวด

2566

2567

 
 

กองทุนรวม

จำนวนกองทุน

2,110

          2,255

 

NAV (ล้านบาท)

4,441,500

    5,209,917

 

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

จำนวนกองทุน

359

            352

 

NAV (ล้านบาท)

1,421,986

    1,513,173

 

กองทุนส่วนบุคคล

จำนวนกองทุน

87,859

      103,563

 

NAV (ล้านบาท)

2,299,601

    2,383,400

 

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน*

จำนวนกองทุน

8

                8

 

NAV (ล้านบาท)

364,495

      350,946

 

ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REIT)*

จำนวนกองทุน

28

              30

 

NAV (ล้านบาท)

244,131

      262,135

 

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (กอง 1-4)**

จำนวนกองทุน

44

              41

 

NAV (ล้านบาท)

140,018

      129,794

 

หมายเหตุ :

* ข้อมูลรายไตรมาส โดยมีระยะเวลาการรายงานข้อมูลภายใน 45 วันนับตั้งแต่วันสิ้นงวดข้อมูล

** ข้อมูลรายครึ่งปี โดยมีระยะเวลาการรายงานข้อมูลภายใน 45 วันนับตั้งแต่วันสิ้นงวดข้อมูล

 

กองทุนรวมกลุ่มความยั่งยืน

มูลค่า ณ สิ้นงวด

2566

2567

กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน (Thai ESG)

จำนวนกองทุน

22

              37

NAV (ล้านบาท)

5,267

        29,760

กองทุนรวมเพื่อความยั่งยืน (SRI Fund)

จำนวนกองทุน

35

              54

NAV (ล้านบาท)

26,573

        49,063

    

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ 30 ธันวาคม 2567

กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน (Thai ESG) คือ กองทุนที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินที่มีความโดดเด่นด้านความยั่งยืนหรือสิ่งแวดล้อมที่ผู้ออกทรัพย์สินนั้นเป็นภาครัฐหรือกิจการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย โดยผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการลงทุนในกองทุนรวมดังกล่าว

กองทุนรวมเพื่อความยั่งยืน (SRI Fund) คือ กองทุนรวมที่มีการเปิดเผยข้อมูลในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวนว่ามีการจัดการกองทุนรวมโดยมุ่งความยั่งยืน (Sustainability) ตามหลักสากล และมีการใช้ตราสัญลักษณ์เกี่ยวกับการลงทุนเพื่อความยั่งยืน ในหนังสือชี้ชวนหรือเอกสารอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวม

 

  1. 6. การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์

 

การทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ

การทำคำเสนอซื้อ

2566

2567

เพื่อวัตถุประสงค์ในการครอบงำกิจการ

     มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท)

     มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท)
     จำนวนบริษัทที่ถูกเสนอซื้อ

 

23,364

3,730

6

 

49,293

15,964

12

เพื่อออกจากการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ

     มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท)

     มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท)
     จำนวนบริษัทที่ถูกเสนอซื้อ

 

18,325

17,266

7

 

45,484

44,615

5

รวม

     มูลค่าหุ้นที่เสนอซื้อ (ล้านบาท)

     มูลค่าหุ้นที่เกิดรายการซื้อขายจริง (ล้านบาท)     
     จำนวนบริษัทที่ถูกเสนอซื้อ

 

41,690

20,997

13

 

94,778

60,579

17

 

การผ่อนผันเกี่ยวกับการทำคำเสนอซื้อ
หน่วย: กรณี

ประเภทการผ่อนผัน

2566

2567

การผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อ

6

9

(1)    ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอำนาจบริหาร

(2)    เป็นการฟื้นฟูกิจการ

(3)    ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น (white wash)

(4)    ผ่อนผันการทำคำเสนอซื้อหุ้นบางส่วน

(5)    ไม่มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อการครอบงำกิจการ

(6)    จำเป็นและสมควร

1

-

3

2

-

-

5

-

1

-

-

3

การผ่อนผันขั้นตอนหรือวิธีการในการทำคำเสนอซื้อ

1

-

 

 


 

  1. 7. ธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

 

ผู้ได้รับใบอนุญาต/ได้รับความเห็นชอบ

 

จำนวน (ราย)*

ศูนย์ซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Exchange)

9

นายหน้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Broker)

12

ผู้ค้าสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Dealer)

4

ผู้จัดการเงินทุนสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Fund Manager)

2

ที่ปรึกษาสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset ​Advisory Service​)

2

ผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล (Digital Asset Custodial Wallet Provider)

2

ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO Portal)

8

หมายเหตุ : * รวมผู้ประกอบธุรกิจและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ที่ได้รับใบอนุญาตแล้วแต่ยังไม่เริ่มประกอบธุรกิจ และบางรายได้รับใบอนุญาตมากกว่า 1 ประเภท ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ ก.ล.ต. www.sec.or.th หัวข้อ “สินทรัพย์ดิจิทัล” หรือ คลิก www.sec.or.th/DigitalAsset

 

การเสนอขายโทเคนดิจิทัล

การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชนเป็นครั้งแรก (ICO)

2566

2567

บริษัท

มูลค่า (ล้านบาท)

บริษัท

มูลค่า

(ล้านบาท)

โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน (Investment Token)

3

2,414.23

2

450.42

โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์แบบไม่พร้อมใช้ (Utility Token ไม่พร้อมใช้)

-

-

-

-

โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์แบบพร้อมใช้ที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการอุปโภคบริโภค หรือแสดงสิทธิต่างๆ และ issuer ต้องการนำไปจดทะเบียนซื้อขายบนศูนย์ซื้อขายฯ (Utility Token พร้อมใช้กลุ่ม 2)

-

-

-

-

รวม

3

2,414.23

2

450.42

หมายเหตุ : จำนวนบริษัทและมูลค่าของโครงการโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต ไม่ว่าจะมีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลในช่วงเวลาดังกล่าวหรือไม่


 

  1. 8. การดำเนินการของ “ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนและรับแจ้งเบาะแส”

 

การรับเรื่องร้องเรียน                

2566

2567

ประเภทเรื่องที่ร้องเรียน

จำนวนเรื่อง

ประเภทเรื่องที่ร้องเรียน

จำนวนเรื่อง

1. การได้รับการชักชวนให้ลงทุนโดยอ้างผลตอบแทนในอัตราที่สูง

786

 1. ระบบงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

313

2. การให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

189

 2. การบริการที่ไม่ได้อยู่ภายใต้กำกับดูแลของ ก.ล.ต.

130

3. ระบบงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

65

3. การดำเนินธุรกิจของบริษัทจดทะเบียน

74

4. การปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหาร/กรรมการบริษัทจดทะเบียน

46

4. ระบบงานอื่นของธนาคารพาณิชย์/บริษัทประกัน

50

5. ระบบงานอื่นของธนาคารพาณิชย์/บริษัทประกัน

40

5. ระบบการจัดการสินทรัพย์ของลูกค้า

46

6. อื่น ๆ

588

 6. อื่น ๆ

840

รวม

1,714

รวม

1,453

หมายเหตุ : “ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนและรับแจ้งเบาะแส” ยกระดับจาก “ศูนย์บริการประชาชน ก.ล.ต.” ตามโครงสร้างองค์กรใหม่ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2566

 


 

การดำเนินการของ “สายด่วนแจ้งหลอกลงทุน”

การดำเนินการ

จำนวนบัญชีที่แจ้งปิดกั้นเนื้อหาหรือช่องทางการหลอกลงทุน

วันที่ 6 พ.ย. – 31 ธ.ค. 2566*

2567

แจ้งปิดกั้นโดยตรงกับผู้ให้บริการแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย

Facebook

368

1,349

LINE

17

156

TikTok

-

1,817

Instagram

1

-

แจ้งปิดกั้นผ่านหน่วยงานภาครัฐ**

-

66

รวม

386

3,388

หมายเหตุ : * ก.ล.ต. เปิดช่องทาง “สายด่วนแจ้งหลอกลงทุน” เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2566

เมื่อ ก.ล.ต. ได้รับเบาะแส จะตรวจสอบและแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อปิดกั้นเนื้อหาหรือช่องทางการหลอกลงทุนโดยเร็ว ในปี 2567 ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียได้ปิดกั้นบัญชีที่ได้รับแจ้งจาก ก.ล.ต. ไปแล้ว 100% ภายในเวลา 7 นาที – 48 ชั่วโมง  

** การแจ้งปิดกั้นผ่านหน่วยงานภาครัฐ เช่น กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (DE) สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) เริ่มตั้งแต่เดือนกันยายน 2567

 

Investor Alert : การรายงานข้อมูลรายชื่อบุคคลหรือนิติบุคคลที่มิใช่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต. (Investor Alert) เพื่อเตือนประชาชนให้ระมัดระวังการลงทุน

ประเภทรายชื่อบุคคลหรือนิติบุคคล
ที่มิใช่ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกำกับดูแลของ ก.ล.ต.

จำนวน (ราย)

2566

2567

ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า

556

3,455

ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

43

55

ยังไม่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน

10

9

ยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
และยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

2

11

ยังไม่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป

1

0

ยังไม่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชนและยังไม่ได้รับใบอนุญาตธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล

1

0

รวมทั้งหมด

613

3,530

หมายเหตุ : สามารถตรวจสอบข้อมูล Investor Alert ได้ที่เว็บไซต์ ก.ล.ต. https://market.sec.or.th/public/idisc/th/InvestorAlert

 

  1. 9. การบังคับใช้กฎหมาย
  • การดำเนินการทางบริหาร

ประเภทผู้ได้รับความเห็นชอบ

หน่วย: คน

เปิดเผยพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม

สั่งพัก

เพิกถอนความเห็นชอบ**

2566

2567

2566

2567

2566

2567

ผู้แนะนำการลงทุน

-

-

6

1

12

9

ผู้วางแผนการลงทุน

-

-

-

-

-

-

ผู้จัดการกองทุน

-

-

-

-

-

-

กรรมการในคณะกรรมการลงทุนของกองทุน

-

-

-

-

-

-

ผู้บริหาร*

-

-

-

-

-

-

ผู้สอบบัญชี

-

-

-

-

-

-

ที่ปรึกษาทางการเงิน

-

-

-

-

-

-

ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานที่ปรึกษาทางการเงิน

-

-

1

-

-

-

บริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สิน

-

-

-

-

-

-

ผู้ประเมินหลัก

-

-

-

-

-

-

รวม

0

0

7

1

12

9

หมายเหตุ : * ผู้บริหาร หมายความรวมถึง ผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์ ผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์จัดการลงทุน บุคคลผู้มีอำนาจในการจัดการ และผู้จัดการสาขา

** รวมการกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาคำขอความเห็นชอบ


  • การดำเนินคดีอาญา

 

 

เปรียบเทียบปรับ (เฉพาะกรณีที่มีการชำระค่าปรับ)

2566

2567

จำนวนข้อหา

171

147

จำนวนราย

75

120

จำนวนเงินค่าปรับ (บาท)

51,483,530

45,414,795

หมายเหตุ : ผู้ถูกดำเนินการ 1 ราย อาจมีการกระทำผิดหลายข้อหาได้

 

 

กล่าวโทษผู้กระทำผิด ต่อพนักงานสอบสวน (บก.ปอศ. และดีเอสไอ)

2566

2567

จำนวนคดี

29

34

จำนวนผู้ถูกกล่าวโทษ

137

134

หมายเหตุ : บางเรื่องที่ ก.ล.ต. กล่าวโทษจะนับมากว่า 1 คดี เนื่องจากพฤติกรรมในเรื่องนั้นเป็นการกระทำความผิดที่ต่างประเภทกัน ซึ่งสามารถแยกดำเนินคดีได้

 

  • การดำเนินคดีทางแพ่ง

 

 

ตกลงทำบันทึกการยินยอมปฏิบัติตามมาตรการลงโทษ
ทางแพ่งที่ ค.ม.พ. กำหนด

2566

2567

จำนวนคดี

7

10

จำนวนผู้กระทำผิด

22

47

ค่าปรับทางแพ่ง* (บาท)

97,120,726

492,019,845

ชดใช้เงินเท่าผลประโยชน์ที่ได้รับ* (บาท)

6,467,808

207,408,150

ชดใช้เงินค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ (บาท)

846,121

4,588,862

*เงินค่าปรับทางแพ่งและเงินค่าชดใช้คืนผลประโยชน์ที่ได้รับจากการกระทำผิด เป็นรายได้แผ่นดินที่นำส่งกระทรวงการคลังแล้ว

 

 

 

 

ไม่ยินยอมปฏิบัติตามมาตรการลงโทษทางแพ่งที่ ค.ม.พ. กำหนด

ก.ล.ต. จึงขอให้พนักงานอัยการดำเนินการฟ้องคดีผู้กระทำความผิดต่อศาลแพ่งในอัตราสูงสุดที่กฎหมายบัญญัติ

2566

2567

ส่งฟ้องศาลแพ่ง (ราย)

22

13

จำนวนเงินที่ขอให้ศาลสั่ง* (บาท)

93,718,859

70,248,036

หมายเหตุ : * จำนวนเงินที่ขอให้ศาลสั่งตามมาตรการลงโทษทางแพ่ง ประกอบด้วย ค่าปรับ / เรียกคืนผลประโยชน์ / ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ

_________________________

 

 

อณุภา ศิริรวง

: รายงาน/เรียบเรียง โทร 02-276-5976 อีเมล์: reporter@hooninside.com ที่มา: สำนักข่าวหุ้นอินไซด์

บทความล่าสุด

1200 แตก By: แม่มดน้อย

แม่ดน้อย ขี่ไม้กวาดวิเศษ และแล้ว ดัชนีตลาดหุ้นไทย ก็แตก 1,200 จุด ด้วยพ่อใหญ่อย่าง DELTA แม่ใหญ่ AOT เป็นหัวหอก....

FTI จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2568 ผถห.อนุมัติไฟเขียวทุกวาระ จ่ายปันผล 0.04 บาทต่อหุ้น

FTI จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2568 ผถห.อนุมัติไฟเขียวทุกวาระ จ่ายปันผล 0.04 บาทต่อหุ้น

มัลติมีเดีย

NER บนสงครามการค้าโลก - สายตรงอินไซด์ - 24 เม.ย.68

NER บนสงครามการค้าโลก - สายตรงอินไซด์ - 24 เม.ย.68

สามารถติดตามหน้าเพจของ หุ้นอินไซด์ เพื่อรับข่าวเด่นและประเด็นที่คุณไม่ควรพลาดได้ตามขั้นตอนนี้